ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า
(อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ)
ของมุฮัมมัด(ประมาณ 570–8
มิถุนายน
632) ซึ่งสาวกมองว่าเป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า
สา อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2559
วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ศาสนาสำคัญในประเทศไทย
ศาสนาสำคัญในประเทศไทย
แม้คนไทยส่วนใหญ่จะนับถือพระพุทธศาสนา
แต่ประเทศไทยเป็นดินแดนเสรี
ประชาชนได้รับสิทธิที่จะนับถือศาสนาใดๆ
ก็ได้ตราบเท่าที่ไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่นอย่างไรก็ตาม
ความแตกต่างทางศาสนาไม่เคยก่อให้เกิดปัญหาที่ร้ายแรงในประเทศไทยศาสนิกชนไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด
ต่างก็สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสงบสุขในประเทศไทย
ทั้งนี้เพราะทุกศาสนาสอนให้คนละเว้นความชั่วประพฤติแต่ความดี
ศาสนาจึงเป็นเครื่องยึ อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า
ศาสนา ไว้ว่า “ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ
แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถื อ่านเพิ่มเติม
หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต
ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ
๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย
จนแยกกันไม่ออก ความเจริญหรือความเลื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทย
พวกเราชาวพุทธจึงมีหน้าที่จะทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป
หน้าที่สำคัญของชาวพุทธมีดั อ่านเพิ่มเติม
พุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง
พุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง ระอานนท์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ
พระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะ พระมารดาพระนามว่า กีสาโคตมี
ท่านจึงเป็นพระอนุชาของพระพุทธเจ้า ท่านออกบวชพร้อมกับ เจ้าชายภัททิยะ เจ้าชายภคุ
เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายเทวทัต กับนายภูษามาลา ชื่อว่า อุบาลีหลังจากบวชแล้ว
ท่านได้ฟังโอวาทของพระปุณณมันตานีบุตร ได้บรรลุโสดาปัตติผล และได้มารับหน้าที่
พุทธอุปัฏฐาก ปรนนิบัติพระพุทธเจ้า จนกระทั่งหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ 3 เดือน
จึงได้บรรลุพระอรหันตผล และท่านบรรลุพระอรหันตผลโดยไม่อยู่ในอริยบถ 4 คือ ยืน เดิน
นั่ง นอน นั่นคือ
ท่านบรรลุพระอรหันตผลภายหลังจากที่ได้ปฏิบัติธรรมทั้งคืนขณะที่จะเอนกายลงนอนบนเตียง
พอยกเท้าพ้นจากพื้นแต่ศีรษะยังไม่ทันถึงหมอน จิตของท่ อ่านเพิ่มเติม
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเองสมาธิ
หมายถึง ภาวะของจิตที่ตั้งมั่น กำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ
เรื่องใดเรื่องหนึ่งติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ไม่ฟุ้งซ่านไปหาสิ่งอื่นหรือเรื่องอื่นจากสิ่งที่กำหนด ภาวะที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งหรืออารมณ์เดียวและจิตตั้งมั่นนั้นจะต้องเป็น
กุศล ลักษณะของสมาธิ คือ จิตจะเกิดความสงบ เยือกเย็น สบายใจ มีความผ่อนคลาย
เอิบอิ่มใจ ปลอดโปร่ง และมีค อ่านเพิ่มเติม
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตพระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐา อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัยนอกจากจะเป็นแก้วอันประเสริฐของชาวพุทธแล้ว
พระรัตนตรัยยังเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่ดีที่สุดของชาวพุทธ
ในชีวิตประจำวันของชาวพุทธจะเกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัยอยู่เสมอ เช่น
ตื่นนอนตอนเช้าสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย ก่อนไปทำงานนิยมไห อ่านเพิ่มเติม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬบูชา วันมาฆบูชา และวันอัฏฐมีบูชา เป็นวันที่กำหนดขึ้น เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ประกอบพิธีกรรม มีการบูชาเพื่อระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยเป็นพิเศษ และนำเอาหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่อง ในวันสำคัญเหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิ อ่านเพิ่มเติม
พุทธประวัติและชาดก
พุทธประวัติและชาดก ลักการสอนของพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าเมื่อจะทรงสอนใครแต่ละครั้ง
พระองค์ก็ทรงอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง ในการสอนบุคคลระดับต่างๆ
ที่มีพื้นฐานความรู้ สติปัญญาที่แตกต่างกัน
พระองค์ได้ประยุกต์คำสอนแต่ละลักษณะให้มีความเหมาะสม เป็นการสอนที่แสดงถึ อ่านเพิ่มเติม
ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพานที่เมืองกุสินาราแล้ว
ได้มีการทำสังคายนาพระธรรมวินัย จัดไว้เป็นหมวดหมู่จนกระทั่งสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชพระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งและได้มีการทำสังคายนาพระธรรมวินัยเป็นครั้งที่
3 ในสมัยของพระองค์หลังจากทำสังคายนาแล้ว
พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงจัดส่งสมณทูต จำนวน 9 สาย
เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังประเทศต่างๆทำให้พระพุทธศาสนาขยายไปทั่วและเจริญรุ่งเรืองเท่าทุ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)